ปลาสลาด ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Notopterus notopterus อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีปากกว้างไม่เกินลูกตาเหมือนปลาในวงศ์นี้ชนิดอื่น ๆ พื้นลำตัวมีสีเรียบ ยกเว้นปลาวัยอ่อนจะมีลายบั้งเหมือนปลากราย (Chitala ornata) วัยอ่อน จมูกมีสองคู่ คู่หน้ายื่นออกมาคล้ายหลอดหรือหนวด มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20-30 เซนติเมตร จัดเป็นปลาที่เล็กที่สุดชนิดหนึ่งของวงศ์นี้ และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Notopterus[1]
พบในแม่น้ำและแหล่งน้ำนิ่งทั่วประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ที่ภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะสุมาตรา และชวาหรือบอร์เนียว เป็นปลาที่หาง่าย มักอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ อาหารได้แก่ ลูกกุ้ง ลูกปลา สัตว์น้ำขนาดเล็ก เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และนิยมนำเนื้อไปทำทอดมันแทนเนื้อปลากรายซึ่งมีราคาแพงกว่าได้ นอกจากนี้ยังแปรรูปเป็นอาหารอื่น ๆ ได้อีก เช่น ลูกชิ้นสับนก หรือรมควัน เป็นต้น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีก โดยเฉพาะปลาที่กลายสีเป็นสีเผือก
ปลาสลาด ยังมีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น "ตอง", "ฉลาด" หรือ "ตองนา" เป็นต้น
พบในแม่น้ำและแหล่งน้ำนิ่งทั่วประเทศไทย ในต่างประเทศพบได้ที่ภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ไปจนถึงเกาะสุมาตรา และชวาหรือบอร์เนียว เป็นปลาที่หาง่าย มักอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ อาหารได้แก่ ลูกกุ้ง ลูกปลา สัตว์น้ำขนาดเล็ก เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง และนิยมนำเนื้อไปทำทอดมันแทนเนื้อปลากรายซึ่งมีราคาแพงกว่าได้ นอกจากนี้ยังแปรรูปเป็นอาหารอื่น ๆ ได้อีก เช่น ลูกชิ้นสับนก หรือรมควัน เป็นต้น และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีก โดยเฉพาะปลาที่กลายสีเป็นสีเผือก
ปลาสลาด ยังมีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น "ตอง", "ฉลาด" หรือ "ตองนา" เป็นต้น
เป็นปลาน้ำจืดที่มีรูปร่างคล้ายปลา กรายแต่มีขนาดเล็กกว่า ไม่มีจุดสีดำที่ครีบก้น ลำตัวมีสีขาวปนเทา ครีบหลังและครีบอกมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก ครีบก้นและครีบหางเชื่อมติดกันเป็นแผ่นเดียว โดยทั่วไปมีขนาดความยาว 15 - 20 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุดเท่าเคยพบมีความยาวถึง 30 เซนติเมตร
พบในแม่น้ำคลองทั่วไปของทุกภาคของไทย อาหารได้แก่ ลูกปลา ลูกกุ้ง
ขี้อาย ตื่นตกใจง่าย ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ และหลบพักตามตอไม้หรือซอกหิน ไม่ชอบแสงสว่างมาก ออกหากินในเวลากลางคืน โดยชอบผุดขึ้นมาฮุบอากาศทำเสียงที่ผิวน้ำและม้วนตัวกลับให้เห็นด้านข้างขาว คล้ายสีเงิน
พบในแม่น้ำคลองทั่วไปของทุกภาคของไทย อาหารได้แก่ ลูกปลา ลูกกุ้ง
ขี้อาย ตื่นตกใจง่าย ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ และหลบพักตามตอไม้หรือซอกหิน ไม่ชอบแสงสว่างมาก ออกหากินในเวลากลางคืน โดยชอบผุดขึ้นมาฮุบอากาศทำเสียงที่ผิวน้ำและม้วนตัวกลับให้เห็นด้านข้างขาว คล้ายสีเงิน
วิธีการตก ง่าย มากๆ ผูกสายหน้าแบบธรรมดาทั่วไป ได้ทั้งทุ่นลอยแล้วก็หน้าดิน (ปกติหนูชอบหยอดเอาแบบใช้ทุ่นมากกว่า)
สายหน้ายาวนิดหน่อย เกี่ยวอาหารที่ใช้ตก น้าๆท่านไหนสะดวกอารายก็ตามสบายเลย แต่ หนูมักจะใช้อยู่ สาม อย่างค่ะ 1 ไส้เดือน 2. หมูหมัก 3. ตั๊กแตน
สายหน้ายาวนิดหน่อย เกี่ยวอาหารที่ใช้ตก น้าๆท่านไหนสะดวกอารายก็ตามสบายเลย แต่ หนูมักจะใช้อยู่ สาม อย่างค่ะ 1 ไส้เดือน 2. หมูหมัก 3. ตั๊กแตน
การหาหมายตก หนูชอบที่จะตกตาม กอผักบุ้ง ผักกระเฉด หรือ บริเวณที่มีพืชน้ำปกคลุม อยู่ ความลึก ระดับที่เจ้าพวกนี้อยู่ มักชอบอยู่ที่ระดับความลึกราวๆ 1.30-3.00 เมตร จะเห็นฟองอากาศที่ใช้หายใจอยู่เป็นระยะๆ
การตกนั้น ถ้าเป็นคัน(มักใช้คันไม้ไผ่ ((สนุกมากๆ)) ) หนูมักจะชอบใช้ปลายคันแตะน้ำให้เป็นวง เบาๆ สักเดี๋ยวก็มา (เหมือนพระสังข์เรียกปลา ฮ่าๆๆๆๆ )
จากนั้น ก็วัดเอาเลยค่ะ ช่วงที่ตกดีที่สุด อยู่ ราวๆ 06.00-10.00 และช่วงเวลา 17.00-19.00
การตกนั้น ถ้าเป็นคัน(มักใช้คันไม้ไผ่ ((สนุกมากๆ)) ) หนูมักจะชอบใช้ปลายคันแตะน้ำให้เป็นวง เบาๆ สักเดี๋ยวก็มา (เหมือนพระสังข์เรียกปลา ฮ่าๆๆๆๆ )
จากนั้น ก็วัดเอาเลยค่ะ ช่วงที่ตกดีที่สุด อยู่ ราวๆ 06.00-10.00 และช่วงเวลา 17.00-19.00
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น